“ดาวน์ซินโดรม” ไม่ได้เกิดเฉพาะกับแม่อายุมาก!

หลายคนเข้าใจผิดว่าการมีลูกเป็นดาวน์ซินโดรมจะเกิดแค่กับคุณแม่วัย 35+ แต่ความจริงคือ…หญิงตั้งครรภ์ทุกคนมีความเสี่ยง ไม่ว่าจะอายุเท่าไหร่ก็ตาม เพราะสาเหตุเกิดจาก “ความผิดปกติของโครโมโซม” ซึ่งไม่สามารถควบคุมได้ด้วยการกินอาหาร หรือดูแลสุขภาพ ดาวน์ซินโดรมคืออะไร ?ภาวะที่ทารกมีโครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมา 1 แท่ง (รวมเป็น 47 แท่ง) 🧬 จะส่งผลต่อพัฒนาการด้านร่างกาย สติปัญญา และการเรียนรู้ของเด็ก ซึ่งไม่ได้เกิดจากพฤติกรรมของพ่อแม่ แต่เป็นความผิดปกติทางพันธุกรรมที่เกิดขึ้นเอง ความเสี่ยงเพิ่มตามอายุแม่แม้ทุกคนจะมีความเสี่ยง แต่ความเสี่ยงของการมีลูกเป็นดาวน์ซินโดรมจะเพิ่มขึ้นตามอายุของแม่อย่างชัดเจน เช่น หญิงที่ตั้งครรภ์ในช่วงอายุ 20–30 ปี มีโอกาสน้อยกว่าเมื่อเทียบกับหญิงที่ตั้งครรภ์ในวัย 35 ปีขึ้นไป ซึ่งความเสี่ยงจะสูงขึ้นมากในช่วงอายุ 40 ปีขึ้นไป ปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆ ที่ควรรู้นอกจากอายุแล้ว ยังมีปัจจัยอื่นที่เพิ่มความเสี่ยงในการมีลูกเป็นดาวน์ซินโดรม เช่น• เคยมีลูกที่เป็นดาวน์ซินโดรมมาก่อน• มีประวัติคนในครอบครัวเป็นดาวน์ซินโดรม• เป็นพาหะของความผิดปกติทางพันธุกรรมบางชนิด (เช่น translocation)• อายุของพ่อที่มากขึ้น แม้จะมีผลน้อยกว่าฝ่ายแม่แต่ก็อาจมีส่วน• การตั้งครรภ์จากการรักษาภาวะมีบุตรยากในบางกรณี แม้ป้องกันไม่ได้ 100% แต่สามารถ “ตรวจคัดกรอง” ได้ ในปัจจุบันสามารถตรวจคัดกรองได้ตั้งแต่ช่วงต้นของการตั้งครรภ์ เช่น […]
Maximize Your Cell Counting Efficiency – NC-202™

🔬Maximize Your Cell Counting Efficiency – NC-202™ เชิญร่วม Product Showcase & Technical Workshop เพื่อเรียนรู้เทคนิคการใช้งานจริง ที่จะช่วยให้การนับเซลล์ของคุณมีประสิทธิภาพสูงสุด — และทดลองใช้จริงกับตัวอย่างของคุณเอง❗️📍 จำกัดเพียง 40 ที่นั่ง สำหรับบุคลากร คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ คณะสหเวชศาสตร์ เภสัชศาสตร์ และทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย🖥 สำหรับผู้สนใจ สามารถลงทะเบียนเข้าฟัง ออนไลน์ ฟรี❗️🗓 วันที่: 31 กรกฎาคม 2568⏰ เวลา: 09.00 – 12.00 น.📌 สถานที่: ห้อง 1012 ชั้น 10 อาคารอปร. คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ🛑 ลงทะเบียนได้ตั้งแต่วันนี้จนถึง 25 กรกฎาคม 2568 (ที่นั่ง On site […]